วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

Finite & Non-finite Verb

คำกริยาแท้ ( Finite Verbs) และกริยาไม่แท้ ( Non-finite Verbs)
Finite Verbs  ( คำกริยาแท้ ) ทำหน้าที่แสดงกริยาอาการที่แท้จริงของประธานในประโยคมีการเปลี่ยนรูปไปตาม Subject , Tense, Voice และ Mood  เช่น

Subject

I go to school every day
He goes to school every day
They go to school every day  Tense
He goes to school every day
He went to school  yesterday
He’s going to school tomorrow
Voice
Someone killed the snake. ( Active )
The snake was killed. ( Passive )  Mood
I recommend that he see a doctor.
(ไม่ใช่ ่he sees )
If I were you, I would not do it.
( ไม่ใช่ I was )
Non-finite Verbs  ( คำกริยาไม่แท้ )หรือ Verbal  เป็นคำที่มีรูปจากคำกริยาแต่ไม่ได้ทำหน้าที่คำกริยาแท้ มี 3  รูปคือ
 a. Infinitives  เป็นคำกริยาที่อยู่ในรูปกริยาช่องที่ 1 นำหน้าด้วย to ทำหน้าที่ noun , adjective  และ adverbHe lacked the strength to resist.
( to resist ทำหน้าที่ adjective)
We must study to learn.
( to learn ทำหน้าที่ adverb) b. Gerunds    เป็นคำกริยาเติม ing  ทำหน้าที่เป็นคำนาม ( noun ) เช่นThey do not appreciate my singing.
พวกเขาไม่ชอบการร้องเพลงของฉัน  ( singing  เป็นคำนามที่ทำหน้าที่เป็นกรรม )
I like swimming.
ฉันชอบว่ายน้ำ.  ( swimming  เป็นกรรมของ like ) c. Participles  คำกริยาที่เติม ing  หรือ กริยาช่องที่ 3   ที่ทำหน้าที่เป็นคำคุณศัพท์ ( Adjective )  มี 2 รูปแบบคือ* Present Participles   เป็นคำกริยาที่เติม ing  เช่น
The crying baby had a wet diaper.
เด็กที่ร้องอยู่นั้นผ้าอ้อมเปียก  ( crying เป็นคำคุณศัพท์ขยาย baby )* Past Participles  เป็นคำกริยาช่องที่3  เช่นThe broken bottle is on the floor.


 Gerunds หรือ Verbal Nouns


มีคำกริยา 2 ประเภทที่ลงท้ายด้วย ing ประเภทแรกเรียกว่า present participle คือคำที่ใช้กับกริยาช่วย (auxiliary verb) เพื่อทำให้ประโยคนั้นๆเป็นรูป continuous tense เช่น

We are making good progress.
Susan was dancing in the moonlight.
I shall be seeing George tomorrow.
Present participle ยังสามารถใช้กับกริยาช่วยในลักษณะที่เป็นคำคุณศัพท์ (adjective) และในรูปของวลี participial phrase เช่น

The ward seemed to be full of crying babies.
The lady standing behind me in the queue suddently fainted.
Shaking in fury, Harry walked out of the room.
I watched Susan dancing in the moonlight.
ส่วนกริยาที่เต็ม ing อีกประเภทหนึ่ง เราเรียกว่า gerund คือ verb เติม ing และเราสามารถใช้ gerund ทำหน้าที่เป็นคำนาม หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า verbal noun

1. เนื่องจาก gerund เป็นคำนาม (noun) มันจึงทำหน้าที่เป็นประธานของกริยา เช่น

Dancing relaxes you.
Running is a good way to keep fit.
Smoking is banned on all flights.
Drink-driving has caused many tragic deaths.
2. Gerund ทำหน้าที่เป็นกรรม (object) ของกริยา (verb) ได้ เช่น

Jim loves walking and mountain-climbing.
Have you ever tried skating?
I don’t like waiting in queues.
3. Gerund ทำหน้าที่เป็นกรรม (object) ของคำบุพบท (preposition) เช่น

Think before deciding.
Always shower after exercising.
Thanks for helping.
You’re good at drawing.
4.Gerund สามารถทำหน้าที่เป็นภาคเติมเต็ม ตามหลัง linking verb ได้ เช่น

Seeing is believing.
Looking at another player’s cards is cheating.
5. Gerund ทำหน้าที่คล้ายคำคุณศัพท์ adjectivally เช่น

Have you brought your swimming costume?
The washing machine is broken.
I’ll show you to the dining room.
6. Determiners, คำแสดงความเป็นเจ้าของ (possessive), คำคุณศัพท์ (adjective) นั้นเราสามารถใช้กับ gerund ได้ เช่น

The play would have been nothing without the accomplished acting.
Noisy coughing spoilt the performance for me.
The children’s delightful singing made the evening.
This unseemingly shouting is getting us nowhere.
My girlfriend is fed up with my inexpert dancing.
Any cheating will be severely punished.
No smoking is permitted aboard the aircraft.


 Gerund หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า verbal noun ยังมีลักษณะเฉพาะของคำกริยา  คือ

1. สามารถมีกรรม (object) มารองรับ ซึ่งรวมถึงกรรมโดยอ้อม (indirect object) เช่น

Taking excercise is good for you.
Giving people presents is fun.
We try to avoid punishing pupils.
Ellen is good at getting her own way.
The big problem will be finding the time.
2.Gerund หรือ verbal noun สามารถตามด้วยคำกริยาวิเศษณ์ (adverb) หรือ adverbials เช่น

We’ll gain nothing by acting hastily.
I don’t enjoy sitting in the sun.
Talking to people has to be more sensible than war.
Working all night long will not improve your health.
3. Gerund หรือ verbal noun มีรูปกรรมวาจก (passive forms) (โดยใช้ being + past participle) และรูป perfect (โดยใช้ having + past participle) เช่น

I hated being cross-questioned like that.
I’m pround of having written that book.
4. ทำให้เป็นประโยคปฏิเสธได้โดยวางไว้หลัง not เช่น

Not having the car this week is a great nuisance.
Not being a university graduate hasn’t made any difference to my success.
I was hurt at not being invited to the wedding.
เมื่อ gerund หรือ verbal noun ถูกใช้กับคำคุณศัพท์ หรือ determiner เราใช้ of ก่อนกรรม (object) ถ้ามี เช่น

Sensitive handling of the economy is required at this stage.
The settling of claims may take quite a time.
Please remain seated during the singing of the next hymn.
The reading of the will takes place at two o’clock.
คำสรรพนามคือ It ใช้ทำหน้าที่เป็นประธานขั้นต้น (preliminiary subject) โดยมี gerund (หรือ verbal noun) เป็น postponed subject เช่น

It’s no good losing your temper.
It’s no use your shouting.
It’s great having the apartment to myself.
It’s a nuisance not having the car this week.
ใช้กับป้ายประกาศให้สาธารณชนทราบ หรือคำสั่งห้ามต่างๆ เช่น

No Parking Overnight.
No Littering.
No running in the corridor, please!
No talking in class, please!
Verb + Verbal noun

I suggest moving his desk into the bedroom.
Do you enjoy causing trouble?
At last it has stopped raining.
Have you finished writing your assignment?
I keep (on) forgetting to buy washing powder.
You’ll get a seat if you don’t mind waiting in a queue.
Avoid hurting other people’s feelings.
I can’t help feeling angry.
I can’t bear seeing good food wasted.
Dad can’t stand apologizing.
Would you consider taking a lower-paid job?
I dislike making a fuss.
Don’t give up trying.
Do you fancy climbing that tower?
I can’t risk leaving the door uncocked.
They burst out laughing.
The mountaineering will involve climbing with ropes.
Practise moving your toes independently.
I admitted using her computer.
I denied having altered any settings on her computer.
verb + preposition + gerund (หรือ verbal noun)

We believe in disciplining children early.
I insist on driving you to the station.
Jake persisted in disrupting the classes.
I apologize for being late.
I object to paying for parking outside my own apartment block.
Are you thinking of changing jobs?
Richard dreams of becoming an opera singer.
I wouldn’t dream of waking her before 8 o’clock.
I don’t approve of teaching children to read before the age of five.
He worries about not being accepted by other people.
I depend wholly on having good health.
We’re looking forward to meeting you.
transitive verb + object + preposition + gerund (หรือ verbal noun) เช่น

The weather didn’t stop me from enjoying my holiday.
Can we interest you in investing in our company?
Are you accusing me of lying?
We suspected her of having committed fraud.
The authorities prevented us from finding out the truth.
I prefer rail travel to flying.
noun + preposition + gerund (หรือ verbal noun) เช่น

The difficulty of making yourself understood makes you reluctant to talk to deaf people.
The thought of packing up all my belongings fills me with dread.
If there’s no alternative to telling a lie, you have to do it.
Do you think there’s any possibility of persuading her?
When I next get the opportunity of speaking to her, I’ll mention your name.
She always had a taste for dressing outrageously.
My inclination is of course towards holidaying somewhere warm.
There are various methods of backing up your files.
George showed no interest in taking exercise.
Thank you for your kindness in offering us hospitality for the night.
There’s a ban on smoking in most public places nowadays.
Congratulations on winning the competition.
The idea of that man kissing her appalled him.
This book is intended as a brief introduction to computer-programming.
There’s no proof of her having visited Jack that evening.
There’s no substitute for swimming in the sea.
adjective + preposition + gerund (หรือ verbal noun) เช่น

I’m so bad at organizing myself.
He’s obviously determined on leaving as soon as possible.
Are you interested in making some money?
Janet’s too fond of teasing people.
Is he really capable of murdering someone?
Mary’s incapable of hurting anyone deliberately.
Who’s responsible for locking up the shop?
Ellen’s clever at manipulating people.
I’m pleased at having won so much support.
We’re accustomed to getting up early.
You’re not afraid of getting wet, are you?
เราสามารถใช้ได้ทั้ง verbal nouns (หรือ gerund) และ to-infinitive กับคำกริยาต่างต่อไปนี้ โดยที่มีความหมายเหมือนกัน คือ

Verb + verbal noun Verb + to infinitive


She continued reading quietly in his corner. / Same continued to read quietly in his corner.
The customer started making a fuss./ The customer started to make a fuss.
The baby began yelling./ The baby began to yell.
We intend visiting the museum later today./ We intend to visit the museum later today.
We prefer making our own Christmas cards./ We prefer to make our own Christmas cards.
เมื่อใช้ verbal noun และ to-infinitive กับคำกริยาต่อไปนี้ จะมีความหมายแตกต่างกันเล็กน้อย

เราสามารถใช้ได้ทั้ง verbal nouns (หรือ gerund) และ to-infinitive กับคำกริยาต่างต่อไปนี้ โดยที่มีความหมายเหมือนกัน คือVerb + verbal noun Verb + to infinitive
I can’t bear waiting (=I suffer while waiting) for exam results. /
Open the letter now- I can’t bear to wait (=I don’t want to wait).
I love learning (= I enjoy learning) new skills.
I love to learn (=I often choose to learn) new skills.
I like getting up early (= I enjoy getting up early).
I like to get up early (=I choose to get up early).
I hate hurting (=I’m unhappy when I hurt) her feelings.
I hate to hurt (=I don’t want to hurt) her feelings.
advise, allow, permit, forbid

เราสามารถใช้ verbal noun ตามหลัง advise, allow, permit และ forbid ได้ถ้าหากว่าไม่มีกรรม (object) ในรูปของคำนาม หรือ คำสรรพนาม แต่ถ้ามี object ก็ให้ใช้ to-infinitive เช่น

Verb verbal noun verb + to-infinitive


We advise arriving early at the theatre./ We advise you to arrive early at the theatre.
We permit smoking in Coach M./ We permit passengers to smoke in Coach M.
They don’t allow picnicking here./ They don’t allow people to picnic here.
We forbid drug-taking in this hostel./ We forbid guests to take drugs in this hostel.
need, require และ want

need และ require เราสามารถสร้างประโยคเป็น passive to-infinitive หรือใช้รูป ing โดยมีความหมาย passive ได้ เช่น

These dishes need to be washed.
These dishes need washing.
These letters require to be filed.
These letters require filing.
ในประโยคที่ไม่เป็นทางการ เราสามารถใช้ want + verbal noun เช่น

The garden wants weeding.
Infinitive คือ   กริยาที่นำหน้าด้วย to (Infinitive with “to”) เช่น to play,
to study,to arrest และไม่นำหน้าด้วย to (Infinitive without “to”)
โดยเฉพาะหลังกริยาช่วย can,will,may,must etc. เช่น can sing, will go,
may happen นอกจากนี้ Infinitiveจะทำหน้าที่เหมือนอย่างคำนาม (n.)
,คำคุณศัพท์ (adj.) ,และคำวิเศษณ์ (adv.)
หน้าที่ของ Infinitive
-เป็นประธานของกริยา เช่น To obey the law is everyone’s duty.
(เป็นประธานของกริยา is)
-เป็นกรรมของกริยา เช่น He tried to save some money. (เป็นกรรมของกริยา tried)
-เป็นคำคุณศัพท์ เช่น She collected the clothes to be washed.(to be
washed เป็นคุณศัพท์ ขยายนาม clothes)
-เป็นคำวิเศษณ์ เช่น I am happy to talk to him. (to talk เป็นคำวิเศษณ์ขยาย adj.
happy)
-เป็น complement ของ verb to be เช่น Suda’s ambition is to be a doctor.
(to be เป็น complement ของ is)
การใช้ Infinitive with to
1. แสดงความปรารถนา ขอร้อง หรือ คำสั่ง
Verb + to infinitive
เช่น He asked me to wash his car. (ขอร้อง)
2. แสดงวัตถุประสงค์ หรือ เหตุผล เช่น She gets up early to see the
sunrise.
3. ปกติถ้าแสดงวัตถุประสงค์ทั่วๆ ไป จะใช้ for + gerund เช่น
A knife is a tool for cutting with.
แต่ถ้าแสดงวัตถุประสงค์เฉพาะจะใช้ ‘to’ infinitive เช่น
I want a knife to cut the bread with.
4. เป็นคำสั่งหรือหน้าที่ หรือแผนการที่มีความหมายว่าต้องกระทำ to be +
‘to’infinitive
Peter and Ann are to get married next month. (แผนการ)
5. แสดงอนาคตอันใกล้ to be about + ‘to’ infinitive
They are about to start.
6. ใช้กับ the first, the second… + ‘to’ infinitive
the last / the only……
เช่น
I love parties : I ‘m always the first to come. (=who come)
7. แสดงกริยานั้นๆ ถูกกระทำ noun + ‘to’ infinitive
She has homework to do. (that she must do)
8. ใช้กับ adj. ที่แสดงคุณสมบัติของนามที่มาข้างหน้า adjective ดังกล่าว เช่น careless, good , honest,
kind, nice, selfish, silly , stupid, wise etc.
adjective + of+ pronoun (noun) +’to’ infinitive เช่น
It is nice of her to help me.
9. ใช้ตามหลัง adjective ที่แสดงอารมณ์ เช่น amazed, disappointed, surprised , sad เช่น
I was surprised to meet Gere here.
10. ใช้กับ too too + adj/adv. + ‘to’infinitive เช่น
No one is too old to learn.
11. ใช้กับ enough adj./adv. + enough + ‘to’infinitive เช่น
Ann is tall enough to reach the top shelf.
enough + noun + ‘to’ infinitive เช่น
We have not enough time to see the movie.
12. ใช้กับ so…….as so + adj./adv. + as + ‘to ‘infinitive เช่น
Tom was so careless as (careless enough) to leave his house unlocked..

รูปแบบต่างๆของ Infinitive with to

Simple Infinitive (to + V.1) เช่น to go, to buy
Perfect Infinitive (to + have + V.3) เช่น to have seen, to have been
Passive Infinitive (to + be + V.3) เช่น to be written, to be taught
Perfect Passive Infinitive (to + have + been + V.3) เช่น to have been slept, to have been watched
หลักการใช้ Infinitive with to
1. เรามักใช้ Infinitive with to หลังกริยาเหล่านี้
accept (ยอมรับ)

hope (หวัง)

allow (อนุญาต)

intend (ตั้งใจ)

afford (สามารถที่จะ)

learn (เรียน)

agree (ตกลง, ยินยอม)

lead (นำ,ชักจูง)

appear (ปรากฏ)

manage (จัดการ)

arrange (เตรียมการ)

mean (ตั้งใจ)

ask (ถาม)

offer (เสนอ,ให้)

attempt (พยายาม)

order (สั่ง)

care (เป็นห่วง,ดูแล)

plan (วางแผน)

choose (เลือก)

persuade (ชักชวน)

claim (อ้าง)

prepare (เตรียม)

cause (ทำให้เกิด)

pretend (เสแสร้ง)

challenge (ท้าทาย)

promise (สัญญา)

command (สั่งการ)

refuse (ปฏิเสธ)

decide (ตัดสินใจ)

remind (เตือน)

demand (ต้องการ)

seem (ดูท่าทาง)

deserve (ควรค่า)

swear (สาบาน)

encourage (ส่งเสริม)

teach (สอน)

except (ยกเว้น)

tell (บอก)

hope (หวัง)

tend (ค่อนข้าง,มีแนวโน้ม)

fail (ล้มเหลว)

threaten (คุกคาม)

force (บังคับ)

urge (กระตุ้น)

learn (เรียน)

vow (สาบาน,รับปาก)

get (ได้)

warn (เตือน)

instruct (สั่งสอน)

want (ต้องการ)

invite (เชิญชวน)

wish (ปรารถนา)

happen (เกิดขึ้น)

yearn (หวนหา)

hesitate (ลังเล)

2. รูป negative infinitive สร้างขึ้นโดยการเติม not ข้างหน้า to ซึ่งเป็น not to + V1 เช่น
Try not to be late.
I decided not to become an electrician.
3. คำว่า ought และ used ต้องตามด้วย Infinitive with to
You ought to do your homework by yourself.
I used to play cricket 5years ago.
4. ใช้ be to + V1 หรือ have to + V1 เมื่อต้องการเน้น หรือเป็นการออกคำสั่ง คำขอร้อง เช่น
I am to go now (be + to + V1 = ต้อง)
You have to be in my office by ten thirty.
หลักการใช้ Infinitive without to
1. ใช้ตามหลัง Modal Auxiliary Verbs เช่น will, shall, would, should, can, could
may, might, must และอื่นๆ ซึ่งจะต้องเป็นกริยาช่องที่ 1 เท่านั้น
She must love him very much. (เธอต้องรักเขามากๆแน่เลย)
I would buy it if I had money. (ฉันคงจะซื้อมันไปแล้ว ถ้าฉันมีเงิน)
2. ใช้หลัง had better, would rather, would sooner, rather than, but, and, or, except
You’d better go to the hospital. (เธอควรจะไปโรงพยาบาลนะ)
I went to the school and talked to my teacher. (ฉันไปโรงเรียนและคุยดับคุณครู)
3. ใช้หลัง please, help, let, make, see, hear, feel, watch, notice
I don’t feel confident when I speak English. (ฉันรู้สึกไม่มั่นใจเลยในเวลาที่ฉันพูดภาษาอังกฤษ
Participle

             Participle หมายถึง กริยาไม่แท้ (Non-finite Verb) รูปหนึ่ง ซึ่งจะใช้เป็นคำคุณศัพท์ (Adjective) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1.Present Participle
2.Past Participle
3.Perfect Participle

            Present Participle หมายถึง Participle รูปหนึ่งที่มีรูปเป็นกริยา ing (V. ing) ซึ่งจะใช้ขยายคำนามนั้นว่าเป็นผู้ถูกกระทำอาการเอง เช่น

a swimming pool.
< ให้ดูคำว่า swimming ขยาย pool เพื่อบอกว่า pool มีหน้าที่ใช้เป็นที่ swimming >

a crying boy.
< ให้ดูคำว่า crying ขยาย boy เพื่อบอกว่า boy เป็นผู้ทำอาการ crying เอง>

a reading lamp.
< ให้ดูคำว่า reading ขยาย lamp เพื่อบอกว่า lamp ใช้เป็นอุปกรณ์สำหรับ reading >

         Past Participle หมายถึง Participle รูปหนึ่งที่มีรูปกริยาเป็น verb ช่อง 3 (V3) หรือ verb เติม ed จะใช้ขยายคำนามเพื่อบอกคำนามว่าเป็นผู้ถูกกระทำอาการ เช่น

a used car.
< ให้ดูคำว่า used ขยาย car เพื่อบอกว่า car เป็นผู้ถูกกระทำ >

a broken chair.
< ให้ดูคำว่า broken ขยาย chair เพื่อบอกว่า chair เป็นผู้ถูกกระทำ >

a punished student.
< ให้ดูคำว่า punished ขยาย student เพื่อบอกว่า student เป็นผู้ถูกกระทำ)

        Perfect Participle  หมายถึง Participle รูปหนึ่งที่ใช้ขยายคำนาม หรือ  สรรพนามเพื่อบอกหรือเน้นช่วงเวลาที่ยาวนานและเน้นการกระทำอย่างต่อ เนื่องที่นานกว่า

Present Participle และ Past Participle มี 2 รูป คือ

1. having + verb ช่องที่ใช้ขยายคำนามหรือสรรพนามที่เป็นผู้ถูกกระทำหรือใช้ในลักษณะ active voice

2. having + been + V3 ใช้ขยายคำนามหรือสรรพนามที่เป็นผู้ถูกกระทำหรือใช้ในลักษณะ

จะเห็นว่า Perfect Participle จะมีลักษณะเป็นวลี (Phrase) ที่ลดรูปมาจากอนุประโยค (Clause) เพื่อให้ได้ใจความที่สั้น และครบสมบูรณ์  เช่น

Having drunk six cans of beer, Wichai handed his car-key to his friend.

< ให้ดูคำว่า Having drunk ทำหน้าที่ขยาย Wichai ในรูป perfect participle phrase ที่ใช้ทำหน้าที่เป็น adjective phrase ขยาย Wichai และบอกถึงคำนามนี้คือ Wichai เป็นผู้ทำอาการเอง >

ในประโยคดังกล่าว จะเห็นว่ามีองค์ประกอบอยู่ 2 ส่วน คือ ส่วนแรกจะเป็นวลี (Phrase) มีรูปเป็น Perfect Participle ที่ใช้เป็น adjective phrase และอีกส่วนหนึ่งจะเป็นอนุประโยค (Clause) ที่เรียกว่าเป็น adjective phrase และอีกส่วนหนึ่งเป็นอนุประโยค (clause) ที่เรียกว่าเป็น main clause ซึ่งส่วนแรกที่เป็นวลีนี้จะเห็นว่าจริง ๆ แล้วมาจากการลดรูปจาก clause อันได้แก่ Wichai had drunk six cans of beer, Wichai handed his car-key to his friend  แต่จะเห็นว่ามี subject ซ้ำกัน คือ Wichai ดังนั้นในส่วนแรกจึงลดประธาน (Wichai) ลงไป ให้เหลือวลี ก็จะได้เป็นวลีแบบ Perfect Participle ดังกล่าว ฉะนั้น รูป Perfect Participle จะช่วยให้ข้อความที่มีประธานเป็นคนเดียวกัน หรือสิ่งเดียวกัน ก็จะสามารถละได้ และใช้ Perfect Participle แทน

Having been exhausted for a long time, the tourists went to sleeping immediately.

ให้ดูคำว่า Having been exhausted ทำหน้าที่ขยาย the tourists ในรูป Perfect Participle Phrase ที่ใช้เป็น the tourist ในรูป Perfect Participle Phrase ที่ใช้เป็น Adjective Phrase ขยาย the tourist เพื่อบอกว่าคำนามนี้คือ The tourists เป็นผู้ถูกกระทำอาการ คือ ถูกทำให้หมดแรง เพราะโดยปกติจะไม่มีใครอยากถูกทำให้หมดแรง ดังนั้น จึงต้องใช้รูป Passive Voice และด้วยเหตุที่มีการบอกเวลาว่าต้องยาวนาน เพราะมี for a long time ดังนั้น จึงควรใช้เป็น Perfect Participle เพื่อเน้นเวลาที่ยาวนานอย่างเห็นได้ชัดเจนว่า Present Participle หรือ Past Participle ที่ไม่เน้นเรื่องความยาวของเวลาเลย ซึ่งประโยคนี้จะมาจาก 2 ข้อความ คือ

The tourist had been exhausted for a long time, the tourists went to sleep immediately.

จะเห็นว่ามีการใช้ประธานตัวเดียวกันคือ the tourist จึงลดรูปประธานในประโยคแรกไปให้เหลือเพียงวลี (Phrase) และใช้เป็น Perfect Participial Phrase เพื่อขยาย the tourists เป็นประธานเหมือนกัน พร้อมกับบอกความหมายยายนานและต่อเนื่อง รวมทั้งการเป็นผู้ถูกกระทำ

มีหลายคนมักสับสนกับความแตกต่างระหว่าง Gerund กับ Present Participle

Grammarman เห็นว่า อาจจะมีอีกหลายคนที่สงสัยและอยากรู้อยู่เหมือนกันก็เลยไปค้นคว้ามาเล่าให้กันฟังซักหน่อย

โดยปกติแล้วเวลาพูดถึง sentence (ประโยค) หรือ clause (ประโยคย่อย) ก็ตาม เราจะเห็นได้ว่าประโยคหรือประโยคย่อยที่สมบูรณ์จะต้องมีกริยาแท้ (finite verb) เสมอ แต่ถ้าเราต้องการลดรูปประโยคหลักหรือประโยคย่อยให้เป็นวลีหรือกลุ่มคำ (phrase) แล้วหล่ะก็

เราก็จะต้องดัดแปลง v. แท้ ให้เป็น v. ไม่แท้ซะก่อน เพราะมันไม่สามารถแสดงรูป tense ด้วยตัวเองได้

                 v. ไม่แท้ (non-finite verb) มีอยู่ 4 รูป คือ

– To infinitive ( to v.)

– Infininitive without to ( v.)

– Past Participle (v. ช่อง 3)

 –Present Participle (v.ing)

ไอ้ตัวสุดท้ายเนี่ยแหละมันดันมามีหน้าตาเหมือนกันเด๊ะเลยกับ ไอ้ Gerund

เอาหล่ะ เมื่อเจอ v.ing  ที่ไหน  ให้ลองสรุปสุ่มๆไปก่อนเลยว่า ถ้ามันไม่ใช่ Gerund ก็เป็น Present Participle ชัวร์ 100%

เริ่มอยากรู้แล้วใช่มั๊ยหล่ะ จะขอพูดสั้นๆ แบบให้เข้าใจกันง่ายๆ ไปเลย ไป๊..

ตามหลักแล้ว Gerund จะทำหน้าที่เหมือน n. ก็แสดงว่า n. เป็นยังไง Gerund ก็เป็นยังงั้น เพราะมันทำหน้าที่เหมือนกันเลย (อธิบายยืดยาวไปมั๊ยเนี่ย)

ปกติ n. จะรับบทเป็น subject ,object และ complement (ส่วนเติมเต็มของประโยค) อยู่แล้ว Gerund ก็เช่นเดียวกัน

ดูตัวอย่างนิดส์นึง

1. I like eating.

จะเห็นได้ว่า eating ในประโยคนี้ทำหน้าที่เป็น object ของ like เราก็เลยสามารถรู้ไว้ว่ามันคือเจ้า Gerund น้อยนั่นเอง

2. Eating too much makes me fat.

ประโยคนี้ eating เป็น subject  เพราะ eating ก็คือคำนามชนิดหนึ่ง = อาการนาม (เป็นการจับ กริยามาิเติม ing เข้าไปก็แปลงร่างเป็นคำนามได้แล้วจ้า คำนามชนิดนี้เรียกว่า Gerund ไง)

3. My hobby is reading. งานอดิเรกของฉันคือการอ่าน

ประโยคนี้ reading แปลว่า การอ่าน ทำหน้าที่เป็น complement (ส่วนเติมเต็มของประโยค)  เพราะ v. to be เป็น v. ที่ไม่ต้องการกรรมนะจ๊ะ  ดังนั้น reading จึงเป็น Gerund อีกแล้วครับผม

ถ้าใครยังไม่เข้าใจ กลับย้อนขึ้นไปอ่านข้างบนใหม่นะจ๊ะ ว่าแล้วจะเข้าใจทันที

มาดูไอ้เจ้า Present Participle มั่ง

มาทวนกันก่อน นิดส์นึง

Gerund หรือ v.ing ทำหน้าที่เหมือน n. คือ สามารถเป็น subj. ,obj.,และ complement ของประโยค

ในขณะที่ Present Participle ก็คือ v.ing เหมือนกัน แต่ต่างจาก Gerund นะ

Present participle มักจะเห็นบ่อยๆ 3 แบบ

1. เมื่อมีหน้าที่เหมือน adj. คือ วางไว้หน้า n. เพื่อขยาย n.

An exciting movie หนังที่น่าตื่นเต้น

A swimming pool สระว่ายน้ำ

The answering machine is out of order. เครื่องตอบคำถามไม่ทำงาน

2. present participle คือ v.ing ที่ลดรูปมาจาก adjective clause มีหน้าที่ขยายคำนามที่อยู่ข้างหน้ามัน แสดงว่าคำนามนั้นกระทำกริยาเองค่ะ

A man singing this song is my boyfriend. ผู้ชายที่ร้องเพลงนี้เป็นแฟนฉันเอง

(ผู้ชายคนนี้แสดงกริยาร้องเพลงเอง เพราะเพลงไม่มีชีวิต จำเป็นต้องถูกใครซักคนเอามาร้องค่ะ ปล. ไม่เข้าใจอ่านเพิ่มเติมในเรื่อง ประโยคความเดียว นะคะ << คลิกเลย จะได้เข้าใจแจ่มแจ้งไม่มีสงสัยเลยค่ะ)

2. เมื่อใช้ v.ing ใน present continuous tense (จำให้ดีค่ะ ตัวนี้คู่ป่วนของ gerund เลย หลายคนชอบสับสน)

อันดับแรกที่ขาดไม่ได้ คุณจำรูปแบบ present continuous ได้หรือยัง ซึ่งก็คือ

S + V.to be + v.ing (อย่าสับสน tense นี้กับ gerund นะคะ คนละอย่างกันน๊า)

She was raughing. ตอนนั้นเธอกำลังหัวเราะ

I am watching television. ฉัันกำลังดูทีวี

Credit :: http://www.lks.ac.th/teacher_jonggonee/jongdw/infinitive.html
http://www.dek-eng.com/2453/Special-Interviews/Infinitives/Infinitive-with-and-without-to.html
http://www.thaigoodview.com/node/20156?page=0%2C5

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น